การป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบ ของ ตับอักเสบ

  1. การมีอนามัยส่วนบุคคล ส่วนรวมที่ดี เช่น การล้างมือให้สะอาดก่อนทำสิ่งใด หลังการขับถ่าย การประกอบอาหารถูกหลักอนามัย เลือกรับประทานอาหารที่สุก น้ำดื่มที่สะอาด เป็นต้น
  2. หลีกเลี่ยงการรับ การสัมผัสเลือด น้ำเหลือง สิ่งคัดหลั่ง ของผู้อื่น ไม่ใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
  3. ไม่สำส่อนทางเพศ ใช้ถุงยางอนามัย
  4. การฉีดวัคซีนป้องกัน ไวรัสตับอักเสบบเอ
    1. ทารกแรกคลอดทุกราย โดยเฉพาะถ้ามารดาเป็นพาหะของเชื้อ
    2. เด็กทั่วไป เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
    3. เด็กโต วัยรุ่น ผู้ใหญ่ อาจเคยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ เอ แล้ว
    4. คนที่จะเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยงต่อโรค
  5. การฉีดวัคซีนป้องกัน ไวรัสตับอักเสบบี
    1. ทารกแรกคลอดทุกราย โดยเฉพาะถ้ามารดาเป็นพาหะของเชื้อ
    2. เด็กทั่วไป เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
    3. เด็กโต วัยรุ่น ผู้ใหญ่ อาจเคยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี แล้ว ให้ตรวจเลือดก่อนพิจารณาฉีด วัคซีน
การกระจายตัวทั่วโลกของไวรัสตับอักเสบบี

วัคซีนสามารถป้องกันเชื้อไวรัสตับอักเสบเอและบีได้ 99-100% ของบุคคลที่ได้รับการฉีดวัคซีนไวรัสที่หมดฤทธิ์แล้วสองโดสมีภูมิคุ้มกันเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ วัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสตับอักเสบเอไม่ได้รับการอนุมัติสำหรับเด็กอายุต่ำกว่าหนึ่งปี[63] วัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสตับอักเสบบีได้มีให้ใช้ได้มาตั้งแต่ปี 1986 และได้รับการรวมกลุ่มเข้ากับโปรแกรมการฉีดวัคซีนแห่งชาติสำหรับเด็กอย่างน้อย 177 โปรแกรม ภูมิคุ้มกันสามารถป้องกันได้มากกว่า 95% ของเด็กและเยาวชนที่ได้รับวัคซีนไวรัสผสมปริมาณสามโดส การฉีดวัคซีนภายใน 24 ชั่วโมงหลังการเกิดสามารถป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่ที่ติดเชื้อได้ ผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีมีภูมิคุ้มกันตอบสนองต่อวัคซีนลดลง องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ฉีดวัคซีนแก่เด็กทุกคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกแรกเกิดในประเทศที่มีไวรัสตับอักเสบบีระบาดเพื่อที่จะป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่ไปสู่ลูก[64]

ตรวจหาภูมิคุ้มกันเชื้อไวรัสตับอักเสบ เอ (Anti HAV IgM)

Anti HAV IgM (Antibody Hepatitis A Virus Immunoglobulin M)เป็นภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นในระยะแรกของการติดเชื้อ ถ้ามีผลตรวจเป็น บวก(ยืนยัน) แสดงว่าร่างกายติดเชื้อโรคนี้ ควรปรึกษาแพทย์

การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี (HBs Ag)

HBs Ag (Hepatitis B surface antigen) หมายถึง สารประกอบของเชื้อโรค (อังกฤษ: antigen) ที่พบบนผิวของเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ถ้ามีผลตรวจเป็น ลบ(ปฏิเสธ) แสดงว่าไม่พบเชื้อโรคนี้ ถ้ามีผลตรวจเป็น บวก(ยืนยัน) แสดงว่าพบเชื้อโรคนี้ ควรปรึกษาแพทย์

การตรวจหาภูมิคุ้มกันเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี (Anti-HBs และ Anti-HBc)

Anti-HBs (Anti-Hepatitis B surface) และ Anti-HBc (Anti-Hepatitis B core) เป็นแอนติบอดี (ภูมิคุ้มกัน) ต่อแอนติเจนที่อยู่บนผิวและในแกนกลางของเชื้อไวรัสตับอักเสบบีตามลำดับ ถ้ามีผลตรวจเป็น ลบ(ปฏิเสธ) ตัวใดแสดงว่าไม่พบภูมิคุ้มกันเชื้อโรคตัวนั้น ควรปรึกษาแพทย์ ถ้ามีผลตรวจเป็น บวก(ยืนยัน)ตัวใด แสดงว่าพบภูมิคุ้มกันเชื้อโรคตัวนั้น

ทางเดินอาหารส่วนบน
หลอดอาหารอักเสบ  (เชื้อราแคนดิดา, เชื้อเริม)  · การฉีกขาด  (กลุ่มอาการบอร์ฮาเว, กลุ่มอาการมัลลอรี-ไวสส์) · UES  (ถุงยื่นเซงเคอร์)  · LES  (หลอดอาหารบาร์แร็ตต์) · หลอดอาหารเคลื่อนไหวผิดปกติ  (หลอดอาหารแบบนัทแคร็กเกอร์, กล้ามเนื้อเรียบของหลอดอาหารไม่คลาย, การหดเกร็งของหลอดอาหาร, โรคกรดไหลย้อน (GERD)) · โรคกรดไหลย้อนขึ้นมาที่คอและกล่องเสียง (LPR) · รอยคอดที่หลอดอาหาร · หลอดอาหารโตเกิน
กระเพาะอาหารอักเสบ  (แบบฝ่อ, โรคเมเนตริเอร์, กระเพาะอาหารกับลำไส้เล็กอักเสบ)  · แผลเพ็ปทิก (กระเพาะอาหาร)  (แผลเปื่อยคุชชิง, รอยโรคดีเยอลาฟัว)  · อาหารไม่ย่อย · การตีบที่กระเพาะอาหารส่วนปลาย · ภาวะไร้กรดเกลือ · อัมพาตกระเพาะ · กระเพาะอาหารย้อย · โรคกระเพาะจากความดันในหลอดเลือดพอร์ทัลสูง · การโป่งของหลอดเลือดกระเพาะอาหารส่วนปลาย · กลุ่มอาการดัมปิง · กระเพาะอาหารบิดเกลียว
ทางเดินอาหารส่วนล่าง:
ลำไส้
ไส้ติ่งอักเสบ · ลำไส้ใหญ่อักเสบ  (เยื่อบุลำไส้ใหญ่อักเสบเทียม, แบบมีแผล, เพราะขาดเลือด, เห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์, ชนิดคอลลาจีนัส, ชนิดลิมโฟไซติก)  · ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของลำไส้ใหญ่  (โรคลำไส้แปรปรวน, ลำไส้อุดกั้นเทียม/กลุ่มอาการโอกิลวี)  — ลำไส้ใหญ่พอง/ลำไส้ใหญ่พองจากเป็นพิษ · ถุงยื่นอักเสบ/ถุงยื่น
ลำไส้เล็กและใหญ่
ลำไส้เล็กและใหญ่อักเสบ  (ลำไส้อักเสบชนิดเนื้อตาย)  · โรคลำไส้อักเสบ  (โรคโครห์น)  — โรคหลอดเลือด: อาการปวดเค้นท้อง · เยื่อแขวนลำไส้ขาดเลือด · หลอดเลือดลำไส้ใหญ่เจริญผิดปกติ — ลำไส้อุดกั้น: ลำไส้อืด · ลำไส้กลืนกัน · ลำไส้บิดเกลียว · การอัดของอุจจาระ — ท้องผูก · ท้องร่วง  (จากการติดเชื้อ)  · ลำไส้ยึดติด
เลือดออกใน
กระเพาะอาหารและลำไส้
/
เลือดในอุจจาระ
ต่อมช่วยย่อยอาหาร
ตับอักเสบ  (จากไวรัส, แบบภูมิต้านตนเอง, จากแอลกอฮอล์)  · ตับแข็ง  (ตับแข็งจากโรคท่อน้ำดีปฐมภูมิ)  · ตับคั่งไขมัน  (ตับคั่งไขมันที่ไม่เกิดจากแอลกอฮอล์)  · โรคหลอดเลือด  (โรคหลอดเลือดดำตับอุดตัน, ความดันในหลอดเลือดพอร์ทัลสูง, เลือดคั่งในตับแบบเรื้อรัง)  · โรคตับจากแอลกอฮอล์ · ตับวาย  (โรคสมองจากตับ, ตับวายเฉียบพลัน)  · ฝีของตับ  (ทำให้เกิดหนอง, จากอะมีบา)  · กลุ่มอาการโรคไตเนื่องจากโรคตับ · เปลิโอซิส เฮปาติส
ช่องท้องร่วมอุ้งเชิงกราน

กล่องท้ายเรื่องที่เกี่ยวกับ:
ระบบย่อยอาหาร

แหล่งที่มา

WikiPedia: ตับอักเสบ http://www.accessmedicine.com/content.aspx?aID=559... http://www.accessmedicine.com/content.aspx?aID=568... http://www.accessmedicine.com/content.aspx?aID=636... http://www.accessmedicine.com/content.aspx?aID=913... http://gut.bmj.com/cgi/content/full/45/suppl_4/IV1 http://www.diseasesdatabase.com/ddb20061.htm http://linkinghub.elsevier.com/retrieve/pii/0140-6... http://linkinghub.elsevier.com/retrieve/pii/S0046-... http://www.etymonline.com/index.php?search=hepatit... http://www.icd9data.com/getICD9Code.ashx?icd9=573....